เป้าหมายหลัก (Understanding Goal) :

Main



วันที่ 22 เมษายน 2560

 สรุปการร่วมกิจกรรมวันที่ 22 เมษายน 2560

เรียนเรียนรู้วิถีโรงเรียนลำปลายมาศ

การทกิจกรรม Active learning

การเขียแผน PBL 

mapping เรื่องกินเป็นปลูกเป็น


webเชื่อมโยง เศรฐศาสตร์ หน้าที่พลเมือง เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

web สะเต็มศึกษา

web เชื่อมโยง 8 กลุ่มสาระ

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL Problem Based Learning)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ Quarter 1-2) ปีการศึกษา 2559

หน่วย กินเป็นปลูกเป็น
คำถามหลัก ( Big Question) การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ปลอดภัยมีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา ในยุคปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีการพัฒนาอาหาร แปรรูปอย่างมากมายแต่จะมีสักกี่ประเภทที่ปลอดภัยไร้สารเคมี ใส่ใจผู้บริโภคอย่างแท้จริง จึงทำให้ผู้คนหันมาปลูกเอง ทำเอง กินเองมากขึ้น เพื่อสุขภาพ ความปลอดภัยของตนเองและคนรอบข้าง ฉะนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิต
          ดังนั้นการได้เรียนรู้เรื่องกินเป็นปลูกเป็นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้นักเรียนตระหนักในการเลือกรับประทานอาหารปลอดสารพิษตลอดจนได้ใช้ทักษะในการดำรงชีวิตและการแก้ปัญหา
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding goal)
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการเลือกรับประทานอาหารการปลูกผักปลอดสารพิษ อีกทั้งตระหนักในการมีสุขภาวะที่ดีทั้งกายและใจ สามารถนำองค์ความรู้มาปรับใช้ในวิถีชีวิต และถ่ายทอดหรือเสนอแนะต่อผู้อื่นได้



วันที่ 23 เมษายน 2560

สรุปการร่วมกิจกรรมวันที่ 23 เมษายน 2560


จิตศึกษา การทำโยคะ


การทำ Brain Gym


กิจกรรมการนึกถึงคนที่ประทับใจ


แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปัญญาภายในโดยจิตศึกษา : จันทร์
เป้าหมาย
กิจกรรม
สื่อ,อุปกรณ์
ขั้นเตรียม
-รู้ตัว มีสติ
-มีสมาธิ จิตจดจ่อ
กิจกรรม : ต้นไม้
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-นักเรียนนั่งเป็นวงกลม  แล้วไหว้ทักทายกันด้วยความนอบน้อม
-ครูให้นักเรียนจับมือเพื่อนที่อยู่ข้างๆ แล้วปิดเปลือกตาลงช้าๆ มีสติ รับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา (2- 3 ครั้ง) เพื่อรับแสงและพร้อมทำกิจกรรม
กระดาษ,ปากกา, สีไม้
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ทำ
-เห็นความสัมพันธ์ และการเชื่อมโยงระหว่างตนเองกับสิ่งต่างๆรอบตัว
-การเห็นคุณค่าในตัวเอง ผู้อื่น แลสิ่งต่างๆรอบตัว
-การยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
ขั้นกิจกรรม (15นาที)
-ครูนำส่วนต่างๆของต้นไม้ (ราก ลำต้น ใบ กิ่ง ดอก และผล) มาให้นักเรียนดู
-ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไร” สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง/อย่างไร และเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร?
-ครูส่งตะกร้าอุปกรณ์ให้นักเรียน นักเรียนหยิบคละ 1 ชุด (กระดาษA4  ½ ปากกา) รับนักเรียนไหว้ขอบคุณกันและกัน ส่งอย่างนอบน้อม
-ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม ถ้านักเรียนเป็นต้นไม้ นักเรียนอยากเป็นต้นอะไร เพราะอะไร? และคิดว่าส่วนใดสำคัญที่สุดเพราะอะไร?
-นักเรียนเขียนและวาดรูป
-นักเรียนนำเสนอชิ้นงาน ร่วมแลกเปลี่ยนกันและกัน
 -นักเรียนส่งอุปกรณ์ใส่ตะกร้า โดยเริ่มจากคนที่มีตะกร้าอยู่ด้านหลัง ละส่งต่อให้เพื่อนทีละคนจนถึงครู รับไหว้ขอบคุณกันและกันอย่านอบน้อม
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
ขั้นจบ (5 นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม


แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปัญญาภายในโดยจิตศึกษา : พุธ
เป้าหมาย
กิจกรรม
สื่อ,อุปกรณ์
ขั้นเตรียม
-ฝึกสมาธิรู้ตัว
กิจกรรม : วาดภาพครอบครัวสุขสันต์
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-นักเรียนนั่งเป็นวงกลม จับมือเพื่อนที่อยู่ข้างๆ แล้วปิดเปลือกตาลงช้าๆ มีสติ รับรู้ลมหายใจที่ปลายจมูก
-ครูกระตุ้นการเรียนรู้ด้วย Brain Gym บ้านของฉัน ( 3 ครั้ง)
กระดาษ,ปากกา, สีไม้
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ทำ
-เห็นความเชื่อมโยงเรื่องราวของตนเองและผู้อื่น
-เคารพ นอบน้อมต่อสรรพสิ่ง
ขั้นกิจกรรม (15นาที)
-ครูส่งอุปกรณ์ นักเรียนหยิบคนละ 1 ชุด (กระดาษ A4 1 แผ่น ปากกา 1 ด้าม) โดยส่งด้านขวามือจนมาถึงคุณครู ก่อนจะรับ-ส่งอุปกรณ์ทุกคนจะไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันด้วยความนอบน้อม เมื่อได้รับอุปกรณ์แล้วทุกคนจะวางไว้ด้านหน้าของตนเอง
-ครูให้นักเรียนวาดรูป คนในครอบครัวในกระดาษพร้อมระบายสี จากนั้นเขียนความประทับใจในตัวของคนในครอบครัว (แม่ใจดี ทำอาหารอร่อย พ่อกล้าหาญ ฯลฯ) และความประทับใจในตนเอง
-ครูเล่าเรื่องครอบครัวของครูแล้วให้นักเรียนเล่าเรื่องราวของตนทีละคน
-นักเรียนเก็บผลงานและอุปกรณ์ใส่ตะกร้า โดยเมจากคนที่มีตะกร้าอยู่ด้านหลัง ละส่งต่อให้เพื่อนทีละคนจนถึงครู
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
ขั้นจบ (5 นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม




กิจกรรม PBL ทั้ง 21 weeks

Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





1 - 3
โจทย์
สร้างฉันทะ(กระตุ้นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้)
สำรวจ
Key  Question
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ทุ่งนาของโรงเรียนฯ
เมล็ดพันธุ์ข้าว
คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
ผู้รู้
ท่อปูนซีเมนต์
ดินสำหรับเพาะปลูก
- ปุ๋ย
- ดิน
 ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวข้าวคนละประมาณ 1 กำมือ จากแปลงนาหลังโรงเรียน
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนมีวิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์และมีคุณภาพได้อย่างไร?”-ครูให้โจทย์ “นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ข้าว
คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
ปรุงดินตามสูตรที่ได้ออกแบบไว้ พร้อมทั้งเพาะต้นกล้า
ชิ้นงาน
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์จำนวน 5 เมล็ด
สูตรการปรุงดิน / ต้นกล้า
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- นวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก 5 เมล็ด ให้ได้ 2500 เมล็ด
-  การคัดเลือกและคัดแยกเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
- การตรวจสอบความเหมาะสมของต้นข้าวที่จะเจริญเติบโตในท่อปูนซีเมนต์
- วิธีการปรุงดินที่มีคุณภาพและการเพาะต้นกล้าที่ใช้สำหรับเพาะปลูก
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิถีดั่งเดิมของชาวนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณภาพ
- สามารถวิเคราะห์ผลการตรวจสอบค่าความเป็น กรด-เบส ของท่อปูนซีเมนต์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกข้าวได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้ในทุกๆ ขั้นตอน ผ่านกระบวนการบันทึกและสร้างเป็นชิ้นงาน อาทิเช่น Flow chart ,เขียนบรรยายประกอบรูป วิดีโอสรุปการทำกิจกรรม ฯลฯ
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- ความมีน้ำใจ
- มีความสามัคคี
- มีความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น




ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด






1 - 3
โจทย์
สร้างฉันทะ(กระตุ้นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้)
สำรวจ
Key  Question
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ทุ่งนาของโรงเรียนฯ
เมล็ดพันธุ์ข้าว
คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
ผู้รู้
ท่อปูนซีเมนต์
ดินสำหรับเพาะปลูก
- ปุ๋ย
- ดิน
 ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวข้าวคนละประมาณ 1 กำมือ จากแปลงนาหลังโรงเรียน
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนมีวิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์และมีคุณภาพได้อย่างไร?”-ครูให้โจทย์ “นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ข้าว
คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
ปรุงดินตามสูตรที่ได้ออกแบบไว้ พร้อมทั้งเพาะต้นกล้า
ชิ้นงาน
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์จำนวน 5 เมล็ด
สูตรการปรุงดิน / ต้นกล้า
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- นวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก 5 เมล็ด ให้ได้ 2500 เมล็ด
-  การคัดเลือกและคัดแยกเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
- การตรวจสอบความเหมาะสมของต้นข้าวที่จะเจริญเติบโตในท่อปูนซีเมนต์
- วิธีการปรุงดินที่มีคุณภาพและการเพาะต้นกล้าที่ใช้สำหรับเพาะปลูก
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิถีดั่งเดิมของชาวนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณภาพ
- สามารถวิเคราะห์ผลการตรวจสอบค่าความเป็น กรด-เบส ของท่อปูนซีเมนต์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกข้าวได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้ในทุกๆ ขั้นตอน ผ่านกระบวนการบันทึกและสร้างเป็นชิ้นงาน อาทิเช่น Flow chart ,เขียนบรรยายประกอบรูป วิดีโอสรุปการทำกิจกรรม ฯลฯ
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- ความมีน้ำใจ
- มีความสามัคคี
- มีความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น




ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด


Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





4
โจทย์
วางแผนการเรียนรู้
 -  เลือกหัวข้อ
 - สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
 - ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
Key  Question
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
- กระดาษชาร์ต
- สารคดี Food Inc
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร?”
ครูแจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคน โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ โดย 1 เรื่อง ต่อการ์ด 1แผ่น (Card & Chart)
ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้( Think Pair Share )
ตั้งชื่อโครงงาน
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้ 20  สัปดาห์
เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน 
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
ดูสารคดี Food Inc
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
หัวข้อโครงงาน
สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อTopic
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
อธิบายและปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ในการทำงานกลุ่มรวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
ทักษะ
- ทักษะชีวิต- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ปฏิทินการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
 - การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้น

Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





5 – 6
โจทย์
ประเภทของสารอาหาร / วิธีการตรวจสอบสารอาหารKey  Questions
- นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด
-ให้นักเรียนทำอาหารเมนูที่ร่วมกันเลือกภายในห้อง
- นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Mind mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- เมนูอาหารมื้อเช้า
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด?”
- นักเรียนแต่ละคนเลือกเมนูอาหารที่ตนเองทานบ่อยที่สุดคนละ 1 เมนู พร้อมบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
-นักเรียนลงมือปฏิบัติในการประกอบอาหาร
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร 5หมู่)
- ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
ชิ้นงาน
- Mind Mapping, ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทขอสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
 -ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะสังคม
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น Mind Mapping,ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง ฯลฯ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
...................
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ 
หน่วย : “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 /2557
...................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น  ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก 
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต  
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
มาตรฐาน ว 1.1
สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1ม.1/7)
-  สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท    ระบบย่อยอาหาร    ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 .1/1)
สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
มาตรฐาน พ 1.1
สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น   ระบบประสาท   ระบบต่อมไร้ท่อ 
 ระบบทางเดินหายใจ   ระบบขับถ่าย   ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ   ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 .1/1)
 - สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1.1/2)
สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (1.1 .1/3, 4)
มาตรฐาน ง 1.1
สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ     
  ( 1.1 ม.1/2)
 - สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้  ( 1.1 ม.2/1)
สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/4)

........................... 
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา

และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดูVDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้  ( 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้          
 ( 1.1 .2/1)
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ1.1.2/2)
สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้  (1.1 .3/1)
สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้  ( 1.1 .4-6/2)
สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
  ( 2.1.1/1)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้ 
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
 ( 3.1 ม.1/2)
สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ส 3.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1 ม.1/2)















...............................

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
 ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์



มาตรฐาน ว 8.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล  
(ว8.1 ม.2/1 )
นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้  ( 8.1ม.1/4)
สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้ 
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)




มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)






มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           ( 2.1ม.1/4)
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา




มาตรฐาน ว 3.1
สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร  (3.1ม.1/2)
สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้  (3.1ม.1/1)
สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
 (3.1ม.1/3)



มาตรฐาน ส 3.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1ม.1/2)
หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
กระบวนการผลิตอาหารสัตว์  และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ  (2.1ม.3/1)

มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
...................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้   ( 2.1 ม.1/4)
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์     ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์     ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7)    -ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)   
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)


มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
................................ 
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
 - สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช 
(ว1.1ม.1/9)   
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10)   - อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)     
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้  ( 2.1 ม.1/4)



ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : "กินเป็นปลูกเป็น " 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





12 - 14
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1 เดือน
Key  Questions
จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-                    - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต โรคอ้วน
- กระดาษสีขาวบาง
- น้ำมันพืช
- อุปกรณ์ทดลอง
-  นักเรียนนำเสนอสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
- นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน(โรคอ้วน) place mat
- เขียนweb เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัย
ที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- ทดลองหยดน้ำมันพืช 2-3 หยด ลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- พูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
-  สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
ชิ้นงาน
- ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้ รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย 1 เดือน เพื่อลดน้ำหนัก
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





15 - 17
โจทย์
-สารอาหารวิตามิน เกลือแร่ และกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่
-กระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
Key  Question
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-    -  เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
-    - ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-    - คอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
- ครูพานักเรียนเลนเกมเกี่ยวกับผลไม้ชวนคิด
-  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละเท่าๆ กัน ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจัดหมวดหมู่รสชาติผลไม้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?”
- ครูชวนคุยเกี่ยวกับประโยชน์จากอาหารประเภทผักผลไม้
- นักเรียนสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น การ์ตูนช่อง ,  fort chart , Mind mapping ฯลฯ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- เล่นเกมผัก ผลไม้ชวนคิด
- สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
- อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- สร้างชิ้นงานกระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่จัดอยู่ในประเภทวิตามินและเกลือแร่ ประโยชน์จากอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ที่ค่อยช่วยเป็นตัวเร่งและควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ รักษาความสมดุลของกรด ด่าง และน้ำในร่างกาย ช่วยในการรับ-ส่งประสาทความรู้สึก ควบคุมการรัดหดตัวของกล้ามเนื้อ ตลอดจนช่วยในการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์กิจกรรมเกมผัก ผลไม้และนำเสนอวิธีการตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
........................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





18
โจทย์
- การเลือกซื้อ
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Key  Questions
- นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-                    - ภาพเกี่ยวกับผู้ซื้อ เลือกอาหารตามท้องตลาด
-                    - ภาพสัญลักษณ์ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- คอมพิวเตอร์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้อสิ้นค้าอย่างปลอดภัย
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.  มีความสำคัญอย่างไรกับผู้บริโภค
ชิ้นงาน
- placemat      
การเลือกซื้ออาหารอย่าง
ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- ชาร์ตเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจการเลือกซื้ออาหารอย่างมีวิจารณญาณ และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะ ICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์กิจกรรมการเลือกซื้ออาหารอย่างปลอดภัย และอภิปรายกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





19 - 20
โจทย์
นำเสนอโดยสารคดี หนังสั้น เพลง
- จัดนิทรรศการอาหารสุขภาพ จัดแสดงผลิตภัณฑ์สินค้า(เปิดตลาด)
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนมาตลอด 18 สัปดาห์ ในรูปแบบใด
- นักเรียนจะทำอาหารอะไรบ้าง เพื่อมาเปิดตลาดจัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
เมนูอาหารต่างๆ
รูปแบบการเปิดตลาด
สินค้า
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสรุปชิ้นงานผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง
- ช่วยกันคิดวางแผนการเปิดตลาด เพื่อจัดจำหน่ายสินค้า
- นักเรียนขายอาหารที่ร่มไผ่(เปิดตลาด)
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ในชุมชน


ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้ผ่านสารดดี หนังสั้น เพลง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายได้เกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้ที่เรียนมาถ่ายทอดผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้


คุณลักษณะ
สร้างสรรค์กิจกรรมออกแบบพื้นที่จัดจำหน่ายอาหารบริเวณร่มไผ่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





21
โจทย์
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- ประเมินตนเอง
Key  Question
นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
จัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
 Show and Share

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู/ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
กระดาษA3 , A4
สี ปากกา ไม้บรรทัด
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
- นักเรียนเขียนสรุป Mind Mapping(หลังเรียน) และตอบคำถามสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสรุปการประเมินตนเอง สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่จะนำไปพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมในภาคเรียนหน้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- นักเรียนเขียน Mind Mapping(หลังเรียน)
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียน เขียนประเมินตนเองตลอด 1 ภาคเรียน
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Mind Mapping(หลังเรียน)
- เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้(หลังเรียน)
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 /2557

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น  ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต 
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
มาตรฐาน ว 1.1
สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1 ม.1/7)
-  สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท    ระบบย่อยอาหาร    ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 .1/1)
สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
มาตรฐาน พ 1.1
สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น  ระบบประสาท   ระบบต่อมไร้ท่อ 
 ระบบทางเดินหายใจ    ระบบขับถ่าย       ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ  ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 .1/1)
 - สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1 .1/2)
สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้    ( 1.1 .1/3, 4)
มาตรฐาน ง 1.1
สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ     
  ( 1.1 ม.1/2)
 - สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้  ( 1.1 ม.2/1)
สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้  ( 2.1 ม.1/4)
..........
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา

และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้  ( 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
-  สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้          
 ( 1.1 .2/1)
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ 1.1.2/2)
สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้  ( 1.1 .3/1)
สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้  ( 1.1 .4-6/2)
สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
  ( 2.1.1/1)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้ 
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
 ( 3.1 ม.1/2)
สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ส 3.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1 ม.1/2)















....................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
 ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์



มาตรฐาน ว 8.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล  
(ว8.1 ม.2/1 )
นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้  ( 8.1 ม.1/4)
สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           ( 2.1 ม.1/4)
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา




มาตรฐาน ว 3.1
สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร  (3.1ม.1/2)
สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้  (3.1ม.1/1)
สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
 (3.1ม.1/3)



มาตรฐาน ส 3.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1 ม.1/2)
หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
กระบวนการผลิตอาหารสัตว์  และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ  (2.1ม.3/1)

มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
..................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/4)
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์     ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์  ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7)   
 -ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)   
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)


มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)

มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
..................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
 - สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)   
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10)      
อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)     
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/4)

วันที่ 24 เมษายน 2560

สรุปการร่วมกิจกรรมวันที่ 24 เมษายน 2560




กิจกรรมจิตศึกษา


การเล่าเรื่องเชื่อมโยงกัน


 การเขียนแผน Body scan
Body scan แบบนอน
ขั้นเตรียม ทุกคนนอนในท่าปลาดาว นอนหงายขาเหยียดตรง วางมือไว้ข้างๆลำตัวหงายฝ่ามือขึ้น แล้วค่อยๆปิดเปลือกตาลงเบาๆ หายใจเข้าลึกๆหายใจออกช้าๆ สัก 2-3 ลมหายใจ
ขั้นผ่อนคลาย ร่างการทุกส่วนของเราผ่อนคลายรู้สึกที่กล้าเนื้อคิ้วทั้งสองข้าง คิ้วที่ขมวดอยู่ค่อยๆคลายออกรู้สึกที่กล้ามเนื้อเปลือกตาทั้งสองข้าง ค่อยๆคลายออก ค่อยๆคลายกล้ามเนื้อที่บริเวณแก้มทั้งสองข้าง แก้มที่เกรงอยู่ค่อยๆผ่อนคลาย ให้รู้สึกเบาสบายผ่อนคลายและมีความสุขคลายกล้ามเนื้อบริเวณริมฝีปาก  ปากที่เม้มอยู่ค่อยคลายออก รู้สึกผ่อนคลายเบาสบายอิ่มเอมและมีความสุข ไล่ความรู้สึกมาที่ลำคอ กล้ามเนื้อที่ลำคอที่เกรงอยู่ ค่อยๆผ่อนคลายเบาสบายไล่ความรู้สึกมาที่ไหล่ทั้งสองข้าง ไหล่ที่ห่อและเกรงอยู่ค่อยๆผ่อนคลาย คลายออกให้รู้สึกเบาสบาย รู้สึกมาที่แขนทั้งสองข้าง แขนที่ช่วยในการทรงตัวของเราให้ได้พักผ่อน คลายกล้ามเนื้อมือทั้งสองข้างให้รู้สึกผ่อนคลาย เบาสบาย ค่อยๆไล่ความรู้สึกมาที่นิ้วมือ แต่ละนิ้วให้ได้ผ่อนคลายเบาสบาย อิ่มเอมและมีความสุข ผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่หน้าอกของเราให้ผ่อนคลาย ไล่ความรู้สึกมาที่ท้องของเรา หายใจเข้าท้องพองหายใจออกท้องยุบ รู้สึกที่กล้ามเนื้อขาทั้งสองข้าง ขาที่พาเราไปในที่ต่างๆ ให้รู้สึกเบาสบาย ผ่อนคลายและมีความสุข คลายนิ้วเท้าแต่ละนิ้วให้รู้สึกผ่อนคลาย เริ่มจากเท้าซ้ายไปเท้าขวา จากนี้เราจะจินตนาการว่าเรากำลังเดินทางไปที่สวนดอกไม้แห่งหนึ่ง สวนแห่งนี้ปกคลุมไปด้วยผืนหญ้าที่เขียวขจี สดใส พี่ๆค่อยๆก้าวเท้าทีละก้าว ทีละก้าวไปบนผืนหญ้าสายลมพัดมากระทบที่ใบหน้า ทำให้รู้สึกเย็นสบาย ผ่อนคลายเบาสบายและมีความสุขพี่ๆค่อยๆนอนลงบนผืนหญ้าสูดอากาศบริสุทธิ์ รับพลังจากทุกสรรพสิ่ง แล้วค่อยๆปิดเปลือกตาลงเบาๆ สัมผัสได้ถึงความอ่อนนุ่มของผืนหญ้า เราสัมผัสได้ถึงกลิ่นหอมอ่อนๆของมวลดอกไม้ แต่ละคนค่อยๆหลับลึกลงๆเพื่อนผ่อนคลายร่างกาย
**ใส่ข้อมูล ขอบคุณตัวเราที่ตั้งใจทำสิ่งต่างๆ ขอบคุณเราและเพื่อนๆที่ช่วยกันทำสิ่งต่างๆในวันนี้จนประสบผลสำเร็จ ขอบคุณน้ำใจที่เราได้รับและส่งต่อให้ผู้อื่น ขอบคุณเวลาที่ดำเนินไปอย่างมีความสุข ขอบคุณทุกโอกาสที่มอบให้กันและกัน
ขั้นปลุก ทุกคนค่อยๆกลับมา รู้สึกที่เท้าของรั้งสองข้าง ขยับเท้าของเราเบาๆ รู้สึกที่มือของรั้งสองข้าง ค่อยๆขยับมือของเรา พี่ๆค่อยๆเปิดเปลือกตาของเราทั้งสองข้าง กระพริบเบาะให้ปรับเข้ากับแสง แต่ละคนค่อยๆหันไปหาเพื่อนของเราคนข้างๆยิ้มให้กันและกัน พี่ๆแต่ละคนพลิกคัวไปด้านซ้ายและดันตัวขึ้นมานั่งเป็นวงกลม
Brain Gym แต่ละคนเคาะบริเวณศีรษะเบาๆ ไล่มาที่ไหล่ละแขนทั้งสองข้าง จากนั้นพี่ๆประสานมือไว้ด้านหน้า หายใจเข้าลึกๆ ผ่อนลมหายใจออกช้าๆพร้อมดันมือไปด้านหน้า


ลงข้อมูลกิจกรรมที่ได้ทำใน Blog


การทำ timeline สิ่งที่ทำในวันที่ 21 เมษายน-14 พฤษภาคม 2560





วันที่ 25 เมษายน 2560





แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปัญญาภายในโดยจิตศึกษา : อังคาร
เป้าหมาย
กิจกรรม
สื่อ,อุปกรณ์
ขั้นเตรียม
-รู้ตัว มีสติ
-มีสมาธิ จิตจดจ่อ
กิจกรรม : เป็นเรื่องเป็นราว
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม แล้วไหว้ทักทายด้วยความนอบน้อม
-ครูกระตุ้นการเรียนรู้ด้วย Brain Gym  (พี่กระต่ายกับกอหญ้า, งูกับสนุข )
-ครูให้นักเรียนจับมือเพื่อนที่อยู่ข้างๆ แล้วปิดเปลือกตาลงช้าๆ มีสติ รับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา (2- 3 ครั้ง) เพื่อรับแสงและพร้อมทำกิจกรรม
กระดาษ,ปากกา
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ทำ
-เห็นความเชื่อมโยงเรื่องราวของตนเองและผู้อื่น
-เคารพ นอบน้อมต่อสรรพสิ่ง
ขั้นกิจกรรม (15นาที)
-ครูส่งอุปกรณ์ นักเรียนหยิบคนละ 1 ชุด (กระดาษ A4 1 แผ่น ปากกา 1 ด้าม) โดยส่งด้านขวามือจนมาถึงคุณครู ก่อนจะรับ-ส่งอุปกรณ์ทุกคนจะไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันด้วยความนอบน้อม เมื่อได้รับอุปกรณ์แล้วทุกคนจะวางไว้ด้านหน้าของตนเอง
-ครูให้นักเรียนเขียนคำที่นักเรียนชอบมาคนละ 1 คำลงในกระดาษ จากนั้นบอกเห็นผลว่าเลือกคำนั้นเพราะอะไร
- ครูเล่าเรื่องความสำคัญของการอ่านนิทานให้นักเรียนฟัง
-ครูให้นักเรียนร่วมกันแต่งนิทานจากคำที่นักเรียนเขียนเชื่อมโยงเป็นเรื่องราวเดียวกันเริ่มจากครูและเวียนไปทางขวา
- นักเรียนส่งอุปกรณ์มาที่ครู รับบักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม

ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
ขั้นจบ (5 นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุฯซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม




แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปัญญาภายในโดยจิตศึกษา : วันพฤหัส
เป้าหมาย
กิจกรรม
สื่อ,อุปกรณ์
ขั้นเตรียม
-ฝึกสติลับมารู้ตัว จดจ่อกับสิ่งที่ทำรับรู้ลมหายใจ
กิจกรรม : โยคะ
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-ครูนำกิจกรรมด้วยการให้นักเรียนยืนหลับตา กลับมาอยู่กับตัวเองมีสติ รับรู้ลมหายใจเข้า ออกตามจังหวะ
-นักเรียนยืดหยุ่นร่ากาย ผ่อนร่างกาย ผ่อนคลายส่วนตัวต่างๆ เพื่อให้กล้ามเนื้อได้ลายตัว ปลอดภัยอวัยวะในการฝึกโยคะ
ขั้นกิจกรรม
-ฝึกการเคลื่อนไหว การสติ รับรู้ลมหายใจ
ขั้นกิจกรรม (15นาที)
- ครูนำกิจกรรมและพูดสร้างแรงให้เด็กเห็นคุณค่าของกิจกรรมโยคะ  การฝึกปราณควบคุมจังหวะการเคลื่อนไหว ควบคุมลมหายใจเข้า-ออก ทุกขณะจิต
- ทุกคนยืนในท่าที่สบาย ยืนให้เต็มสองฝ่าเท้าสัมผัสให้ได้ถึงจุดที่รับน้ำหนักตัวของเรามากที่สุดที่ฝ่าเท้าทั้งสองข้าง หัวไหล่ทั้งสองข้างไม่ต้องเกรง หย่อนหัวไหล่ลงไป ผ่อนคลายทั่วไหล่ทั้งสองข้าง หายใจเข้าลึกๆ ผ่อนลมหายใจออกข้าๆ ตามดูลมหายใจที่เป็นปกติสัก 3-4 ลมหายใจ
- ครูนำกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย “โยคะ” ไล่เรียนจากท่วงท่ายืน ไล่เรียนจนถึงท่านอน ผ่อนคลาย เคลื่อนไหว รับรู้ลมหายใจ
- ตามด้วย Body scan สั้นๆ เพื่อผ่อนตระหนักรับรู้ทุกลมหายใจ
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
ขั้นจบ (5 นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม




แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาปัญญาภายในโดยจิตศึกษา : ศุกร์
เป้าหมาย
กิจกรรม
สื่อ,อุปกรณ์
ขั้นเตรียม
-ฝึกสมาธิรู้ตัว
กิจกรรม : ธนาคารเวลา
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-นักเรียนนั่งเป็นวงกลม แล้วไหว้ทักทายด้วยความนอบน้อม
-ครูกระตุ้นการเรียนรู้ด้วย Brain Gym  (ขนมจีบ-ตัวแอล, กำ-แบ, นับหนึ่งถึงสิบ) ท่าลำ 10  ครั้ง
- ครูพานักเรียนกลับมารับรู้ที่ลมหายใจของตนเอง 2-3 ลมหายใจ


กระดาษ,ปากกา, สีไม้
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ทำ
-ฝึกการคิดและจินตนาการ

ขั้นกิจกรรม (15นาที)
- ครูอ่านบทความ “ธนาคารเวลา”
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนฟังเรื่องนี้แล้วรู้สึกอย่างไร เพราอะไร? สิ่งไหนที่สำคัญ เพราะอะไร และทำสิ่งนั้นหรือยัง?
-ครูส่งอุปกรณ์ นักเรียนหยิบคนละ 1 ชุด (กระดาษ A4 1 แผ่น ปากกา 1 ด้าม) โดยส่งด้านขวามือจนมาถึงคุณครู ก่อนจะรับ-ส่งอุปกรณ์ทุกคนจะไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันด้วยความนอบน้อม
-นักเรียนเขียนและวาดภาพคำตอบที่ตนเองคิด
- นักเรียนนำเสนอและชื่นชมผลงานกันและกัน
-นักเรียนเก็บผลงานและอุปกรณ์ใส่ตะกร้า โดยเมจากคนที่มีตะกร้าอยู่ด้านหลัง ละส่งต่อให้เพื่อนทีละคนจนถึงครู

ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
ขั้นจบ (5 นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม


ธนาคารเวลา
ลองจินตนาการว่ามีธนาคารแห่งหนึ่ง นำเงินเข้าบัญชีให้คุณทุกเช้า เป็นจำนวนเงิน 86,400 บาท แต่ไม่มีการยกยอดคงเหลือไปวันรุ่งขึ้น ทุกสิ้นวันยอดเงินที่เหลืออยู่จะถูกลบจนหมด คุณจะทำอย่างไร? แน่นอนที่สุดคุณต้องถอนมาใช้ทุกบาททุกสตางค์ ใช่ไหม!!!
เราทุกคนก็มีธนาคารอย่างนี้เหมือนกัน ธนาคารแห่งนี้ชื่อว่า “เวลา” มันเข้าบัญชีให้คุณ 86,400 วินาที ทุกคืนมันจะถูกล้างบัญชีเหลือศูนย์ มันไม่สะสมยอดคงเหลือ ไม่ให้เบิกเกินบัญชี ถ้าคุณเสียโอกาสที่จะใช้มันให้เกิดประโยชน์ในระหว่างวัน ผลขาดทุนก็เป็นของคุณ ไม่สามารถถอยหลังกลับไปใช้ได้ ไม่มีการถอนของ “วันพรุ่งนี้” มาใช้ได้ คุณต้องมีชีวิตอยู่กับปัจจุบันด้วยยอดเงินฝากของวันนี้ ให้ลงทุนจากเงินฝากเหล่านี้เพื่อได้ผลตอบแทนกลับมาดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพ ความสุข และความสำเร็จ นาฬิกากำลังเดินไม่หยุด จงทำวันนี้ให้ดีที่สุด และมีคุณค่าที่สุด
จงใช้เวลาที่มีให้มีคุณค่า และจำไว้เสมอว่า “เวลา” จะไม่คอยใครแม้สักคนเดียว เมื่อวานคืออดีต พรุ่งนี้ยังยากที่จะอธิบาย ส่วนปัจจุบันเป็นของขวัญที่เรามี เราจึงเรียกมันว่า “Present”

ลงกิจกรรมที่ได้ทำเพิ่มเติม

วันที่ 26 เมษายน 2560

สิ่งที่ไดเทำ
1.จิตศึกษา
2.เรียนรู้วิธีการสอนวิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
3. เรียนรู้วิธีการประเมินผล

ความรู้ใหม่
1. จิตศึกษาสามารถเชื่อมโยงกับร่างกายของเราได้
2.การสอนวิชาหลัก เริ่มต้นจากความเข้าใจอย่างช้าๆ และก้าวกระโดดเมื่อผู้เรียนเข้าใจแล้ว
3.การประเมินผลในปัจจุบันวัดเพียง 30% ของความสามารถของผู้เรียนคือความรู้

แรงบันดาลใจ
1.การสอนมีวิธีการที่หลากหลาย รวามทั้งการคิดเพื่อแก้ไขปัญหา
2.การตัดเกรดนักเรียนนั้นต้องครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ


Timeline คอวร์เตอร์ที่ 1


สรุปการอ่านหนังสือ






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น